Warning: ociexecute() [function.ociexecute]: OCIStmtExecute: ORA-02068: following severe error from HRMSPROD ORA-01012: not logged on ORA-02063: preceding 2 lines from ORALINK in H:\AppServ\www\aps\program\StdFunction.php on line 131

Warning: ocifetch() [function.ocifetch]: OCIFetch: ORA-24374: define not done before fetch or execute and fetch in H:\AppServ\www\aps\program\StdFunction.php on line 132
ระบบประเมินพนักงานสายวิชาการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ชื่อโครงการ (ไทย) ควบคุมและป้องกันโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียน โรงเรียนวัดยางงาม : Social Engagement
ชื่อโครงการ (อังกฤษ)  
เลขที่สัญญาโครงการ  
ระยะเวลาดำเนินโครงการ (ตามสัญญา) 01/10/2563 - 30/09/2564
สถานะโครงการ เสร็จสิ้นแล้วเมื่อวันที่ 30/09/2564
ประเภทโครงการบริการวิชาการ โครงการสนับสนุนวิชาการแก่สังคม
บริการวิชาการให้กับผู้รับบริการ ภายนอกมหาวิทยาลัยเท่านั้น
งบประมาณ (ตามสัญญา) 0.00 บาท
ค่าบริหารจัดการมหาวิทยาลัย (% ตามสัญญา) %
ค่าบริหารจัดการมหาวิทยาลัย (ตามสัญญา) 0.00 บาท
งบประมาณ (ที่ได้รับจริง) 0.00 บาท
ค่าบริหารจัดการมหาวิทยาลัย (% ตามจริง) %
ค่าบริหารจัดการมหาวิทยาลัย (ตามจริง) 0.00 บาท
โครงการนี้ดำเนินงานโดยนักศึกษาหรือไม่ ไม่ใช่
หัวหน้าโครงการหรืออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ 1.  
ผู้รับบริการหรือกลุ่มเป้าหมาย
หน่วยบริการที่รับผิดชอบ
1.หน่วยบริการวิชาการ : สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สังกัด : สำนักวิชาแพทยศาสตร์
สัดส่วน : 100 %
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน/วิจัย
1.การวิจัย
รายละเอียด : คณาจารย์และนักศึกษาบัณฑิตศึกษา สำนักวิชาแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมกับศูนย์บริการวิชาการ ลงพื้นที่รายรอบมหาวิทยาลัยให้บริการวิชาการรับใช้สังคม มิติด้านสุขภาพ อย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน ภายใต้โครงการควบคุมและป้องกันโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนวัดยางงาม ณ ตำบลท่าขึ้น อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีนายจรัญ เพชรเพ็ง ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดยางงาม ได้แสดงความจำนงขอรับบริการด้านสุขภาพให้กับนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 103 คน ในภาคเรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2563 การดำเนินโครงการในภาคเรียนที่ผ่านมา ในมีนาคม 2564 มีนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมการตรวจอุจจาระเพื่อวินิจฉัยการติดเชื้อหนอนพยาธิของนักเรียน จำนวนนักเรียน 81 คน และการสำรวจและประเมินแบบสอบถามด้านพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อหนอนพยาธิที่ติดต่อผ่านดิน การตรวจตัวอย่างเล็บและอุจจาระเพื่อวินิจฉัยการปนเปื้อนและการติดเชื้อหนอนพยาธิของนักเรียน จำนวนนักเรียน 80 คน และดำเนินการตรวจที่ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ผลการตรวจไม่พบไข่ของหนอนพยาธิในตัวอย่างเล็บและอุจจาระของนักเรียน นอกจากนั้น เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 ทางโครงการฯ ได้จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคหนอนพยาธิให้เด็กนักเรียน เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักถึงปัญหาของโรคหนอนพยาธิที่ติดต่อผ่านดิน รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้ไปดูแลสุขภาพและที่เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ทั้งนักเรียน ผู้ปกครอง และครู ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในดำเนินการตรวจวินิจฉัย รักษา และป้องกันโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียน รวมทั้งคณาจารย์และนักศึกษาบัณฑิตศึกษา สำนักวิชาแพทยศาสตร์ ได้ให้ความรู้ ความเข้าใจ ด้านพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อหนอนพยาธิ เช่น การไม่ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การไม่ล้างมือหลังการขับถ่ายอุจจาระ การไม่ล้างมือหลังจากสัมผัสสัตว์เลี้ยง การไม่ล้างผักให้สะอาดก่อนนำมารับประทานหรือนำมาปรุงอาหาร รวมถึงการรับประทานอาหารแบบสุกๆดิบๆ การถ่ายอุจจาระในส้วมที่ไม่ถูกสุขลักษณะ การไม่สวมรองเท้าเมื่อออกนอกบ้าน และพฤติกรรมชอบกัดเล็บมือ ครอบคลุมที่จะนำองค์ความรู้ที่ได้มาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคของนักเรียนให้สำเร็จ และนำไปสู่การพัฒนาเป็นพื้นที่ต้นแบบในการควบคุมการแพร่กระจายของโรคหนอนพยาธิในระดับชุมชนได้อย่างมีความยั่งยืน
ไฟล์แนบ : แผนผล
หน่วยงานภายนอกที่ร่วมจัด
1.มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แหล่งงบประมาณ
1. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
หนังสือที่ได้รับการอนุมัติ ดูไฟล์แนบ
สัญญา -
ข้อเสนอโครงการ -
หมายเหตุ  
โครงการย่อย/กิจกรรมในโครงการ
ชื่อโครงการย่อย/กิจกรรมควบคุมและป้องกันโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียน โรงเรียนวัดยางงาม : Social Engagement
ช่วงเวลาในการจัดกิจกรรม01/10/2563 ถึง 30/09/2564
สถานที่จัด
บริการวิชาการให้กับผู้รับบริการภายนอกมหาวิทยาลัยเท่านั้น
ค่าใช้จ่าย0.00 บาท
มูลค่าของสถาบัน0.00 บาท
ลักษณะการบริการวิชาการ
ผู้ให้บริการวิชาการ
1. ผศ.พญ.นนทพรรณ ผาสุข 
2. รศ.ดร.ชูชาติ พันธ์สวัสดิ์ หัวหน้าโครงการ
3. ผศ.ดร.ประสิทธิ์ นาเอก 
4. รศ.ดร.ประภาพร จันทร์เอียด 
5. ผศ.ดร.เอื้อมพร หมวดเมือง 
ผู้รับบริการ/กลุ่มเป้าหมาย
พื้นที่ของผู้รับบริการ/กลุ่มเป้าหมาย 
จำนวนผู้รับบริการ
หน่วยงานภาครัฐ 0 คน
รัฐวิสาหกิจ 0 คน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 0 คน
องค์กรสาธารณประโยชน์ (NGO) 0 คน
ภาคธุรกิจเอกชน 0 คน
สถาบันการศึกษา (ครู/อาจารย์) 0 คน
สถาบันการศึกษา (นักเรียน นักศึกษา) 0 คน
ประชาชนทั่วไป 0 คน
องค์กรชุมชน 0 คน
สถาบันการศึกษา 0 คน
หน่วยงานต่างประเทศ 0 คน
อื่น ๆ 0 คน
รวม 0 คน
ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ (1 ถึง 5)4.8  ดูไฟล์แนบ
ร้อยละของผู้รับบริการที่สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ไม่มีการประเมิน
โครงการนี้ตอบสนองความต้องการพัฒนา
และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคมฯ
ผลการดำเนินงานโดยสังเขป 
หมายเหตุ